BackupBuddy : Schedules
Schedules คือการตั้งเวลาสำหรับการสำรองข้อมูล สามารถสร้างไว้หลายชุดเพื่อให้ทำงานต่างกันได้ สามารถสั่งให้ส่งแบ็คอัพเหล่านั้นไปยังพื้นที่เก็บภายนอกได้ด้วย
Schedules คือการตั้งเวลาสำหรับการสำรองข้อมูล สามารถสร้างไว้หลายชุดเพื่อให้ทำงานต่างกันได้ สามารถสั่งให้ส่งแบ็คอัพเหล่านั้นไปยังพื้นที่เก็บภายนอกได้ด้วย
การติดตั้ง WordPress บน DigitalOcean ซึ่งเป็น Cloud Hosting และติดตั้งติดตั้งแพกเกจต่างๆ สำหรับ Server ผ่าน ServerPilot ทำให้เรามี Server ส่วนตัวใช้งานง่ายๆ ในราคาที่ถูกพอๆ กับ Share Hosting เลยทีเดียว
การเพิ่มพื้นที่สำหรับพิมพ์บทความใน WordPress เพื่อให้สะดวกในการใช้งานสำหรับคนที่ชอบเขียนบทความ เหมือนการจัดโต๊ะให้สวยสะอาด สะดวก และน่าทำงาน
การเพิ่มเมนูใน Footer สำหรับเว็บที่ต้องการรวมป้ายบอกทางไปยังเนื้อหาส่วนต่างๆ ภายในเว็บ เป็น sitemap ขนาดย่อมให้ผู้อ่านได้เข้าถึงเนื้อหาต่างๆ ได้โดยง่าย
วันนี้จะพามาดูวิธีการใส่ไอคอนจาก Font Awesome ง่ายๆ ลงในเว็บกันค่ะ ด้วยการเพิ่มฟังชั่นบางตัวลงในไฟล์ functions.php ค่ะ และอีกวิธีคือการใช้ปลั๊กอิน Header and Footer ค่ะ
การใช้งาน App WordPress บน iPad หรือ Smart Phone อื่นๆ สามารถทำได้ง่ายๆ โดยหากใช้ปลั๊กอิน Jetpack บนเว็บก็ยิ่งสามารถทำให้เราจัดการได้หลายเว็บพร้อมกัน
บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อคนที่บล็อกฟรีอยู่บน WordPress.com แล้วต้องการที่จะย้ายมาใช้งานเป็นเว็บเต็มตัวแบบ Selfhost ที่สามารถมีอิสระในการปรับแต่งมากกว่าเดิม
Sub directories คือ การสร้างไดเร็กทอรี่ย่อยจากโดเมนหลักของเราเช่น www.mydomainname.com/site1 ทำให้เรามีหลายไซต์ที่มีรูปแบบแตกต่างกันจัดการได้จากที่เดียว
การสร้าง Child Theme นั้นมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับการแก้ไขธีม WordPress เพราะนอกจากจะทำให้เราแก้ไขธีมโดยไม่กระทบธีมหลักแล้วยังทำให้เราแก้ไขได้สะดวกขึ้นด้วย
การติดตั้งธีมบน WordPress ด้วยวิธีการอัพโหลดผ่าน Ftp และ Dashboard การเตรียมตัวก่อนการเปลี่ยนธีม WordPress ช่วยให้เราเปลี่ยนธีมได้โดยง่ายและปลอดภัย ข้อผิดพลาดที่ WordPress แจ้ง “ไม่พบไฟล์ style.css” มีสาเหตุมาจากอะไร
การใช้งาน Site State ของปลั๊กอิน Jetpack ที่เชื่อมต่อกับ WordPress.com ในการใช้บริการเก็บข้อมูลของผู้เข้าชมเว็บไซต์
การติดตั้ง WordPress แบบ Manual เริ่มตั้งแต่การดาวน์โหลดไฟล์ คลายซิป การสร้างฐานข้อมูลและการเชื่อมต่อ WordPress กับฐานข้อมูล